Last updated: 19 Apr 2017 | 1958 Views |
อย่าทิ้ง! เปลือกไข่ มีประโยชน์มากมายขนาดนี้เลยเหรอเนี้ย
ณโยนเปลือกไข่ทิ้งใช่หรือไม่? อ่านจบแล้วคุณจะเปลี่ยนใจไปตลอดกาล
เปลือกไข่ เป็นแหล่งธรรมชาติของแร่ธาตุและมีแคลเซียม 90% แคลเซียมจะถูกดูดซึมได้อย่างง่ายดายโดยร่างกายของเรา เพราะองค์ประกอบทางเคมีของมันเกือบจะเหมือนกับฟันและกระดูกของมนุษย์
หากบริโภคในปริมาณมาก แคลเซียมจะไม่เพียงถูกกำจัดด้วยอาการขาดแคลเซียม แต่จะยังป้องกันไม่ให้พัฒนาเป็นโรคกระดูกพรุน กระตุ้นไขกระดูกในการผลิตเซลล์เม็ดเลือด และช่วยในเรื่องการรักษาระดับคอเลสเตอรอลสูงและความดันโลหิตสูง
เปลือกไข่ยังประกอบไปด้วยธาตุเหล็ก สังกะสี ทองแดง แมงกานีส ฟลูออรีน ฟอสฟอรัส โครเมียมและโมลิบดีนัม ดังนั้นผู้เชี่ยวชาญหลายคนจึงแนะนำว่าเปลือกไข่เป็นอาหารเสริมแคลเซียมตามธรรมชาติ และมีประสิทธิภาพมาก ซึ่งแนะนำให้ใช้เปลือกไข่บดละเอียดวันละ 1.5-3 กรัม
ข้อต่อไปนี้คือวิธีการนำเปลือกไข่ไปใช้
1.สร้างความเข้มแข็งของอวัยวะในร่างกาย และทำความสะอาดเลือด
ล้างเปลือกไข่ 5 ฟอง บดให้ละเอียดแล้วใส่ลงในน้ำ 3 ลิตร นำส่วนผสมนี้ไปใส่ไว้ในตู้เย็น 7 วัน ก่อนที่จะนำมันมาดื่มเป็นน้ำ ดื่มส่วนผสมนี้วันละสองถึงสามแก้ว คุณยังสามารถบีบน้ำมะนาวเพื่อเพิ่มรสชาติได้อีกด้วย
2.ต่อมไทรอยด์ นำเปลือกไข่ 8 ฟอง ล้างให้สะอาดและบดให้ละเอียด เทน้ำมะนาวสองลูกลงบนเปลือกไข่บด และแช่ไว้ในตู้เย็นเป็นเวลาหลายวัน เมื่อเปลือกไข่นุ่มขึ้น แยกกากให้เหลือแต่น้ำ นำมาผสมกับเครื่องดื่มลาเกีย (Rakia) 1 ลิตร และน้ำผึ้ง 1 กิโลกรัม ทิ้งส่วนผสมนี้ไว้ให้ได้เจ็ดวันก่อนนำมาใช้ บริโภคครั้งละหนึ่งช้อนชา วันละสองถึงสี่ครั้งต่อวันหลังมื้ออาหาร
3.โรคกระเพาะ, แผลในกระเพาะอาหาร บดเปลือกไข่ ใช้ปลายมีดตักขึ้นมา ด้วยเปลือกไข่ปริมาณเท่านี้เพียงพอที่จะรักษาโรคนี้ได้ ผสมเปลือกไข่บดเข้ากับน้ำมะนาวสองช้อนชา เมื่อเปลือกไข่นุ่มลง ใส่นมร้อนเพิ่มเข้าไปอีกหนึ่งเดซิลิตร บริโภคส่วนผสมนี้วันละสองครั้ง บริโภคตอนเช้าในช่วงท้องว่าง และตอนเย็นก่อนเข้านอน
อ้างอิง...naturalhealthcareforyou.com
บทความที่มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกับสุขภาพทั้งหมด ทางเว็บไซต์ได้รวบรวมไว้เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้อ่านเท่านั้น จึงไม่สามารถนำไปใช้นำไปอ้างอิงหรือใช้แทนการวินิจฉัยของแพทย์ได้ หากมีการนำข้อมูลในเว็บไซต์ไปใช้ ทางเว็บไซต์จะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น จากการนําข้อมูลดังกล่าวไปใช้ ในทุกกรณี โดยไม่มีข้อยกเว้น ดังนั้นควรปรึกษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อขอคำอธิบายเพิ่มเติม และควรต้องทราบว่า ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตเป็นข้อมูลทั่วๆ ไป ไม่สามารถนำมาใช้ได้กับคนไข้ทุกๆคน